แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ 4 ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม |
||||||||
ชื่อส่วนราชการ |
: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ |
|||||||
ประเด็นยุทธศาสตร์/พันธกิจ |
พันธกิจที่ 3 : นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว |
|||||||
องค์ความรู้ที่จำเป็น |
: 4.1 ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม การประยุกต์และทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเพิ่มคุณค่าและสร้างมูลค่าเพิ่ม |
|||||||
ตัวชี้วัด (KPI) |
: จำนวนโครงการ/กิจกรรม |
|||||||
เป้าหมายของตัวชี้วัด |
: จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่บูรณาการฯ ไม่น้อยกว่า 1 โครงการ/กิจกรรม |
|||||||
ลำดับ |
กิจกรรมการจัดการความรู้ |
ระยะเวลา |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
กลุ่มเป้าหมาย |
ผู้รับผิดชอบ |
หมายเหตุ |
|
1 |
การบ่งชี้ความรู้ 1. การจัดการความรู้ในการสร้างหลักสูตรบูรณาการท้องถิ่นด้วยนวัตกรรมการพัฒนาทักษะสำหรับการเป็นนวัตกรสื่อความหมายวัฒนธรรมและภูมิปัญญาเพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมภายในชุมชนตำบลต้นตาล อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี" โดย นายฐกร อ่วมสถิตย์ 2. เกาะเกร็ดทุนวัฒนธรรมนำการท่องเที่ยวโดย โดย นายเบญจรงค์ พื้นสะอาด 3.ระบบการจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดย ว่าที่ร้อยโทธวัชชัย สิงห์สุภา |
มิ.ย. 66 - ก.ย.66 |
จำนวนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้
|
อย่างน้อย 3 เรื่อง
|
บุคลากรภายในคณะ
|
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม |
|
|
2 |
การสร้างและแสวงหาความรู้
|
ก.ย.66 - ต.ค.66 |
มีจำนวนทะเบียนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้ที่อยู่ในตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน |
ทะเบียนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้ที่อยู่ในตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงานไม่น้อยกว่า 3 องค์ความรู้ |
บุคลากรภายในคณะ
|
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
|
|
|
3 |
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
|
ต.ค. 66 - พ.ย. 66 |
มีทะเบียนรายการความรู้หรือทำเบียบรายชื่อผู้เชี่ยวชาญภายในคณะ |
รายการจัดการความรู้หรือทำเนียบรายชื่อผู้เชี่ยวชาญภายในคณะอย่างน้อย 3 เล่ม หรือ 3 ระบบ |
บุคลากรภายในคณะ
|
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
|
|
|
4 |
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
|
ต.ค. 66 - พ.ย. 66 |
มีรายงานหรือคู่มือองค์ความรู้ที่ใช้ในด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
|
รายงานหรือคู่มือองค์ความรู้ที่ใช้ในด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 3 เล่ม
|
บุคลากรภายในคณะ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
|
|
|
5 |
การเข้าถึงความรู้
|
ต.ค. 66 - พ.ย. 66 |
1. มีระบบการแจ้งเวียนประชาสัมพันธ์ความรู้ภายในองค์กร 2. จำนวนบุคลากรที่เข้าถึงองค์ความรู้ |
1. อย่างน้อย 2 ช่องทาง Google drive,Line Website,Facebook 2. อย่างน้อยร้อยละ 60ของบุคลากรในคณะเข้าถึงองค์ความรู้ |
บุคลากรภายในคณะ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
|
|
|
6 |
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
พ.ย. 66 - พ.ค.67 |
มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในคณะ ตามรูปแบบที่เหมาะสม
|
อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อเรื่องและมีภาพข่าวกิจกรรมประกอบ
|
บุคลากรภายในคณะ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม |
|
|
7 |
การเรียนรู้
|
พ.ย. 66 - พ.ค.67 |
มีคู่มือแนวปฏิบัติการจัดการความรู้ KM /แนวปฏิบัติที่ดีด้านการบริการวิชาการและหารายได้ ประจำปีการศึกษา 2566 |
อย่างน้อย 1 เล่ม |
บุคลากรภายในคณะ
|
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
|
|
|
8 |
การติดตามผลการเรียนรู้ |
มิ.ย. 66 - พ.ค. 67 |
1. รวบรวมฐานข้อมูลด้านภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ 2. บุคลากร นักศึกษา และผู้ที่สนใจได้มีส่วนร่วมบูรณาการด้านภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้ากับการปฏิบัติงาน การเรียนการสอนรายวิชาศาสตร์พระราชา 3. เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และรายวิชาศาสตร์แห่งการเป็นพลเมืองที่พึงประสงค์ 4. เพื่อเผยแพร่ผลงานและให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
|
บุคลากรมีสมรรถนะด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 60 |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
|
|