แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ 3 ด้านบริการวิชาการและหารายได้ |
||||||||
ชื่อส่วนราชการ |
: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ |
|||||||
ประเด็นยุทธศาสตร์/พันธกิจ |
: ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการบุคลากรและทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยด้วยหลักธรรมาภิบาลเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม |
|||||||
องค์ความรู้ที่จำเป็น |
: การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคประกอบการ ในการบริการวิชาการที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และประเทศ รวมถึงการสร้างรายได้จากการบริการวิชาการ |
|||||||
ตัวชี้วัด (KPI) |
: มีบุคลากรมีความเชี่ยวชาญเพิ่มขึ้นในการนำความรู้ด้านบริการวิชาการและหารายได้ไปใช้ประโยชน์ |
|||||||
เป้าหมายของตัวชี้วัด |
: ร้อยละ 60 -ของบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ได้รับความรู้ |
|||||||
ลำดับ |
กิจกรรมการจัดการความรู้ |
ระยะเวลา |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
กลุ่มเป้าหมาย |
ผู้รับผิดชอบ |
หมายเหตุ |
|
1 |
การบ่งชี้ความรู้ 1. การถอดองค์ความรู้ประสบการณ์อบรมการพัฒนาการท่องเที่ยวกลุ่มอุตสาหกรรมภาคตะวันออกภายใต้นโยบายระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก (EEC) ต่อผลกระทบทางสังคม โดยนายฐาปกรณ์ ทองคำนุช
|
มิ.ย.66- ก.ย. 66
|
จำนวนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้ |
อย่างน้อย 1เรื่อง |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านบริหารวิชาการและหารายได้
|
|
|
2 |
การสร้างและแสวงหาความรู้
|
ก.ย.66 - ต.ค.66 |
มีจำนวนทะเบียนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้ที่อยู่ในตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน |
ทะเบียนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้ที่อยู่ในตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน อย่างน้อย 1 องค์ความรู้
|
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านบริหารวิชาการและหารายได้
|
|
|
3 |
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ |
ต.ค.66-พ.ย.66 |
มีรายงานการจัดการความรู้ หรือทำเนียบรายชื่อผู้เชี่ยวชาญภายในคณะ |
รายงานการจัดการความรู้หรือทำเนียบรายชื่อผู้เชี่ยวชาญ อย่างน้อย 1 เรื่อง |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านบริหารวิชาการและหารายได้
|
|
|
4 |
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
|
ต.ค.65-พ.ย.65 |
มีรายงานหรือคู่มือองค์ความรู้ที่ใช้ในด้านการบริการวิชาการและหารายได้ |
อย่างน้อย 1 เล่ม |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านบริหารวิชาการและหารายได้
|
|
|
5 |
การเข้าถึงความรู้ |
ต.ค.66-พ.ย.66 |
1. มีระบบการแจ้งเวียนประชาสัมพันธ์ความรู้ภายในองค์กร 2. จำนวนบุคลากรที่เข้าถึงองค์ความรู้ |
1. อย่างน้อย 2 ช่องทาง Google drive,Line Website,Facebook 2. อย่างน้อยร้อยละ 60ของบุคลากรในคณะเข้าถึงองค์ความรู้ |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านบริหารวิชาการและหารายได้
|
|
|
6 |
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
พ.ย.66-พ.ค.67 |
มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในคณะตามรูปแบบที่เหมาะสม |
อย่างน้อย 1 ครั้งต่อเรื่องและมีภาพข่าวกิจกรรมประกอบ |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านบริหารวิชาการและหารายได้
|
|
|
7 |
การเรียนรู้ |
พ.ย.66-พ.ค.67 |
มีคู่มือแนวปฏิบัติการจัดการความรู้ KM /แนวปฏิบัติที่ดีด้านการบริการวิชาการและหารายได้ ประจำปีการศึกษา 2566 |
อย่างน้อย 1 เล่ม/เรื่อง |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านบริหารวิชาการและหารายได้
|
|
|
8 |
การติดตามผลการเรียนรู้ |
มิ.ย.66 - พ.ค. 67 |
-มีการเผยแพร่องค์ความรู้ผ่านเว็บไซด์ของคณะ และไลน์กลุ่มกลางเพื่อให้อาจารย์นำองค์ความรู้ไปใช้เขียนโครงการบริการวิชาการและหารายได้ -เผยแพร่ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดีด้านการด้านการบริการวิชาการและหารายได้ผ่านทาง Website ของคณะ |
บุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มขึ้นจากการนำความรู้จากการจัดการความรู้บริการวิชาการและหารายได้นำไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 60 |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านบริหารวิชาการและหารายได้
|
|