แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ 2 ด้านวิจัยและนวัตกรรม |
||||||||
ชื่อส่วนราชการ |
: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ |
|||||||
ประเด็นยุทธศาสตร์/พันธกิจ |
: ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นเลิศทางด้านการวิจัย นวัตกรรมใช้เองสู่เชิงพาณิชย์ตอบสนองความต้องการของชุมชนและอุตสาหกรรม เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี : เป้าประสงค์ที่ 2 สร้างงานวิจัย นวัตกรรมสู่เชิงพาณิชย์และพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชน สังคม มุ่งสู่การเป็นผู้นำในการบริการวิชาการเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาค ประกอบการโดยเฉพาะกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ : พันธกิจที่ 2 สร้างงานวิจัย นวัตกรรมสู่เชิงพาณิชย์ ตอบสนองความต้องการชุมชนและอุตสาหกรรม |
|||||||
องค์ความรู้ที่จำเป็น : การสร้างผลงานวิจัย นวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หรือสาธารณประโยชน์ |
||||||||
ตัวชี้วัด (KPI) : จำนวนบุคลากรมีความรู้ด้านวิจัยและนวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ |
||||||||
เป้าหมายของตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ได้รับความรู้ |
||||||||
ลำดับ |
กิจกรรมการจัดการความรู้ |
ระยะเวลา |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
กลุ่มเป้าหมาย |
ผู้รับผิดชอบ |
หมายเหตุ |
|
1 |
การบ่งชี้ความรู้ 1. การสร้างสื่อออนไลน์สำหรับฝึกทักษะการสื่อสารภาษาญี่ปุ่นในการดำรงชีวิตประจำวันและการทำงานในประเทศญี่ปุ่น โดย ผศ.แจ่มจันทร์ บุญโญปกรณ์ 2. การศึกษาความพึงพอใจ ของอาจารย์และนักศึกษา ที่มีต่อสื่อการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิด โดย นางสาวปริณุต ไชยนิชย์ 3.การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ในเชิงสาธารณะประโยชน์ โดย นายสุขุม คงดิษฐ์ |
มิ.ย.66 - ก.ย. 66 |
จำนวนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้
|
ไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง
|
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านวิจัยและนวัตกรรม
|
|
|
2 |
การสร้างและแสวงหาความรู้
|
ก.ย. 66- ต.ค.66 |
มีจำนวนทะเบียนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้ที่อยู่ในตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน |
ทะเบียนองค์ความรู้ที่จำเป็นที่ได้จากการบ่งชี้ที่อยู่ในตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านวิจัยและนวัตกรรม
|
|
|
3 |
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ
|
ต.ค 65 – เม.ย. 66 |
มีรายงานการจัดการความรู้ หรือทำเนียบรายชื่อผู้เชี่ยวชาญภายในคณะ |
รายงานการจัดการความรู้หรือทำเนียบรายชื่อผู้เชี่ยวชาญ อย่างน้อย 3 เรื่อง |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านวิจัยและนวัตกรรม
|
|
|
4 |
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
|
ม.ค.-เม.ย. 66 |
มีรายงานหรือคู่มือองค์ความรู้ที่ใช้ในด้านการวิจัยและนวัตกรรม |
รายงานหรือคู่มือองค์ความรู้ที่ใช้ในด้านการวิจัยและนวัตกรรมอย่างน้อย 3 เรื่อง |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านวิจัยและนวัตกรรม
|
|
|
5 |
การเข้าถึงความรู้
|
ธ.ค. 65 - ต.ค. 66 |
1. มีระบบการแจ้งเวียนประชาสัมพันธ์ความรู้ภายในองค์กร 2. จำนวนบุคลากรที่เข้าถึงองค์ความรู้ |
1. อย่างน้อย 2 ช่องทาง 2. อย่างน้อยร้อยละ 60 ของบุคลากรในคณะที่เข้าถึงองค์ความรู้ |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านวิจัยและนวัตกรรม
|
|
|
6 |
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้
|
เม.ย. - ก.ย. 66 |
มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในคณะตามรูปแบบที่เหมาะสม |
อย่างน้อย 1 ครั้งต่อเรื่อง และมีภาพกิจกรรมประกอบ |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านวิจัยและนวัตกรรม
|
|
|
7 |
การเรียนรู้
|
เม.ย. - ก.ย. 66
|
คู่มือแนวปฏิบัติการจัดการความรู้ KM หรือแนวปฏิบัติที่ดีด้านการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปีการศึกษา 2566 |
อย่างน้อย 1 เล่ม/เรื่อง
|
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรมการดำเนินงาน KM ด้านวิจัยและนวัตกรรม
|
|
|
8 |
การติดตามผลการเรียนรู้ |
มิ.ย.66 - พ.ค. 67 |
1. บุคลากรภายในคณะมีสมรรถนะด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปปรับใช้ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากแหล่งทุนภายในและภายนอกได้ต่อไป 2. บุคลากรในคณะสามารถนำความรู้ที่ได้ไปขยายผลในการดำเนินโครงการวิจัยของตนเองเพื่อให้ผลงานวิจัยสามารถนำไปสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และสาธารณประโยชน์ได้ต่อไป 3.เผยแพร่ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดีด้านการด้านการวิจัยและนวัตกรรม ผ่านทาง Website ของคณะ
|
บุคลากรมีสามรรถนะด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 60 |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
คณะกรรการดำเนินงาน KM ด้านการเรียนการสอน |
|