แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ 4 ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม | |||||||
ประเด็นยุทธศาสตร์/พันธกิจ : ยุทธศาสตร์ - : พันธกิจที่ 4 ส่งเสริมการทะนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม |
|||||||
องค์ความรู้ที่จำเป็น : การประยุกต์และทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเพิ่มคุณค่าและสร้างมูลค่าเพิ่มรวมถึงการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม | |||||||
ตัวชี้วัด (KPI) : จำนวนโครงการ/กิจกรรม | |||||||
เป้าหมายของตัวชี้วัด : จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่บูรณาการ ไม่น้อยกว่า 1 โครงการ/กิจกรรม | |||||||
ลำดับ |
กิจกรรมการจัดการความรู้ |
ระยะเวลา |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
กลุ่มเป้าหมาย |
ผลการดำเนินงาน/เอกสาร/หลักฐาน |
|
1 |
การบ่งชี้ความรู้ -แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้
-ประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู้เพื่อกำหนดองค์ความรู้
|
ก.ย. 65
ต.ค. 65 |
-จำนวนคณะทำงานการจัดการความรู้ -จำนวนความรู้ที่ได้จากการบ่งชี้ (ทะเบียนความรู้) |
ไม่น้อยกว่า 15 คน
-ไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
- คำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ 357/2565 ลว. 16 กันยายน 2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ประจำปีการศึกษา 2565 - คำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ 427/2565 ลว. 10 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ (Knowledge Facilitator : KF)
|
|
2 |
การสร้างและแสวงหาความรู้ -ค้นหาความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมและสนับสนุนพันธกิจสัมพันธ์คณะกับสังคม
|
ต.ค.65-เม.ย.66 |
มีทะเบียนความรู้จากการบ่งชี้อยู่ในบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน |
ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
สร้างและรายงานผลการแสวงหาความรู้ จำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ 1. การจัดการความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการเลี้ยงแพะในจังหวัดนนทบุรี (Knowledge Management of Local Wisdom on Goat Farming in Nonthaburi Province) (อาจารย์ ว่าที่ร้อยโท ธวัชชัย สงห์สุภา) 2. ภาษาไทย “การสร้างสรรค์นิทรรศการโลกเสมือนเพื่อเผยแพร่ประเพณีกวนข้าวทิพย์ มาฆปุณณมีศรี ดงละคร จังหวัดนครนายก” (อาจารย์วิเชษฐชาย กมลสัจจะ) 3. โครงการสื่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศ : วัฒนธรรมสองแผ่นดิน (ผศ.สมบัติ ศิริจันดา) 4. นก หนู งู เต่า ปลา : ระบบนิเวศแหล่งน้ำวัฒนธรรมชุมชน (อาจารย์กนกวรรณ แยกผิวผ่อง ,อาจารย์พัฒนพงษ์ ธงหาร) 5. การสร้างเอกลักษณ์ท้องถิ่นสาหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนพิมลราช ภายใต้โครงการ U2Tมหาวิทยาลัยสู่ตาบล สร้างงาน สร้างรายได้ให้ชุมชน (อาจารย์จิราณีย์ พันมูล) |
|
3 |
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ -จัดทำทะเบียนความรู้/คลังความรู้ |
ต.ค.65-เม.ย.66 |
มีทะเบียนรายการความรู้ที่ได้รับการบ่งชี้/คลังความรู้ |
มีทะเบียนความรู้/คลังความรู้ |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
มีทำเนียบรายชื่อบุคลากรที่เชี่ยวชาญ |
|
4 |
การประมวลและกลั่นกรองความรู้ -จัดหา รวบรวม และกลั่นกรองแนวปฏิบัติที่ดีในตัวบุคคล |
ม.ค.66- เม.ย.66 |
มีรายงานองค์ความรู้ที่ใช้ในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม |
มีระบบการประมวลความรู้ไว้บริการบุคลากร จำนวน 1 รถบบ |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
ระบบคลังความรู้ด้านการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม เช่น ระเบียบ ข้อบังคับ แบบฟอร์ม ที่เกี่ยวข้อง https://arts.rmutsb.ac.th/Arts%20and%20culture |
|
5 |
การเข้าถึงความรู้ -เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดี Web site คณะ -จัดทำเป็นเอกสาร e-document หนังสือเวียน -บอร์ดประชาสัมพันธ์ -การอบรม สัมมนากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -สื่อ Social media |
ธ.ค. 65- ต.ค.66 |
มีจำนวนความรู้ที่สามารถเข้าถึงและมีการประชาสัมพันธ์ความรู้ภายในองค์กร |
อย่างน้อยเดือนละ 1 เรื่อง (ไม่จำกัดช่องทาง) |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
- เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีผ่านทาง Web site, Line Facebook ของคณะ |
|
6 |
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ประกวดแนวปฏิบัติที่ดี -ชุมชนนักปฏิบัติ (COP) |
เม.ย.-พ.ค. 66 |
จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง/ปีการศึกษา |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
- จัดโครงการการจัดการความรู้ ในการบริหารจัดการข้อมูลของหน่วยงาน ประจำปีการศึกษา 2565 เพื่อเป็นการนำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ในวันที่ 18 เมษายน 2566 เวลา 13.30-16.30 น. |
|
7 |
การเรียนรู้ -บุคลากรนำการจัดการความรู้ไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนางาน |
เม.ย.66-ก.ย.66 |
จำนวนบุคลากรในคณะที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มขึ้นจากการนำความรู้จากการจัดการความรู้ไปใช้ |
จำนวนบุคลากรมีสามรรถนะด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 60 |
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ |
1. เพื่อเป็นการรวบรวมฐานข้อมูลด้านภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ 2. เพื่อให้บุคลากร นักศึกษา และผู้ที่สนใจได้มีส่วนร่วมบูรณาการด้านภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้ากับการปฏิบัติงาน การเรียนการสอนรายวิชาศาสตร์พระราชา 3. เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และรายวิชาศาสตร์แห่งการเป็นพลเมืองที่พึงประสงค์ 4. เพื่อเผยแพร่ผลงานและให้ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม https://arts.rmutsb.ac.th/content/339 |