เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

Cop 2. ด้านวิจัยและนวัตกรรม

แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) :  แผนที่ 2 ด้านการวิจัยและนวัตกรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์/พันธกิจ : ยุทธศาสตร์ที่ 1 เพื่อการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยสู่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
                                 : พันธกิจที่ 2 สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม เพื่อพัฒนาสังคมและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
องค์ความรู้ที่จำเป็น   :  การสร้างผลงานวิจัย นวัตกรรมเพื่อนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หรือสาธารณประโยชน์
ตัวชี้วัด (KPI)  :  จำนวนองค์ความรู้ด้านวิจัยและนวัตกรรม อย่างน้อย 1 องค์ความรู้
เป้าหมายของตัวชี้วัด  :  จำนวนผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ ไม่น้อยกว่า 1 เรื่อง

ลำดับ

กิจกรรมการจัดการความรู้

ระยะเวลา

ตัวชี้วัด

เป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน/เอกสาร/หลักฐาน

1

การบ่งชี้ความรู้

-แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้

 

-ประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู้เพื่อกำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็นโดยเน้นการส่งเสริมและสนับสนุนพันธกิจ

 

ก.ย. 65

 

ต.ค. 65

 

จำนวนคณะทำงานการจัดการความรู้

จำนวนความรู้ที่ได้จากการบ่งชี้ (ทะเบียนความรู้)

 

ไม่น้อยกว่า 15 คน

 

ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง

 

บุคลากรภายในคณะ

- คำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ 357/2565
ลว. 16 กันยายน 2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ประจำปีการศึกษา 2565

- คำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ 427/2565
ลว. 10 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ (Knowledge Facilitator : KF) ประจำปีการศึกษา 2565

- รายงานผลการบ่งชี้ความรู้ จำนวน 5 เรื่อง
1. แนวปฏิบัติที่ดีนวัตกรรมการส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยเทคโนโลยีแบบพกพาพร้อมระบบติดตามแบบออนไลน์ เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิง วัฒนธรรมในเขตพื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี (อ.ธง คำเกิด)
2. โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาและออกแบบเส้นจักรยาน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(อ.จง แซ่สง)
3. แนวทางการยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
GUIDELINE FOR ENHANCING THE POTENTIAL OF HEALTHY TOURISM IN BAN KUM, BANG BAN DISTRICT, PHRA NAKHON SI AYUTTHAYA PROVINCE
(อ.เบญจรงค์ พื้นสะอาด)
4. การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษด้วยแนวคิดพหุประสาทสัมผัสและการเรียนรู้แบบปฏิบัติในงานจริงด้วยสมาธิสำหรับพนักงานจำหน่ายบัตรเข้าชมอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา (อ.จรัญ อ่อนขาว)
5. เทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยเพื่อนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ (อ.สุขุม คงดิษฐ์)

 

2

การสร้างและแสวงหาความรู้

-ค้นหาความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมและสนับสนุนพันธกิจสัมพันธ์

ต.ค. 65- เม.ย.66

มีทะเบียนความรู้จากการบ่งชี้อยู่ในบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน

บุคลากรภายในหน่วยงานได้รับการประเมินความรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

บุคลากรภายในคณะ

สร้างและรายงานผลการแสวงหาความรู้ จำนวน 5 เรื่อง ได้แก่
1. แนวปฏิบัติที่ดีนวัตกรรมการส่งเสริมการท่องเที่ยวด้วยเทคโนโลยีแบบพกพาพร้อมระบบติดตามแบบออนไลน์ เพื่อยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิง วัฒนธรรมในเขตพื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี (อ.ธง คำเกิด)
2. โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาและออกแบบเส้นจักรยาน การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
(อ.จง แซ่สง)
3. แนวทางการยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของตำบลบ้านกุ่ม อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
GUIDELINE FOR ENHANCING THE POTENTIAL OF HEALTHY TOURISM IN BAN KUM, BANG BAN DISTRICT, PHRA NAKHON SI AYUTTHAYA PROVINCE
(อ.เบญจรงค์ พื้นสะอาด)
4. การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษด้วยแนวคิดพหุประสาทสัมผัสและการเรียนรู้แบบปฏิบัติในงานจริงด้วยสมาธิสำหรับพนักงานจำหน่ายบัตรเข้าชมอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา
(อ.จรัญ อ่อนขาว)
5. เทคนิคการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยเพื่อนำไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ (อ.สุขุม คงดิษฐ์)

 

3

การจัดความรู้ให้เป็นระบบ

- จัดทำทะเบียนความรู้/คลังความรู้

ต.ค. 65 – พ.ย. 65

มีรายงานองค์ความรู้ที่ใช้ในการบริการวิชาการและหารายได้

มีระบบการประมวลความรู้ไว้บริการบุคลากร จำนวน 1 ระบบ

บุคลากรภายในคณะ

มีทำเนียบรายชื่อบุคลากรที่เชี่ยวชาญ

 

 

4

การประมวลและกลั่นกรองความรู้

-จัดหารวบรวมและกลั่นกรองแนวปฏิบัติที่ดีในตัวบุคคล

ม.ค.66-เม.ย.66

มีรายงานองค์ความรู้ที่ใช้ในการบริการวิชาการและหารายได้

มีระบบการประมวลความรู้ไว้บริการบุคลากร จำนวน 1 ระบบ

บุคลากรภายในคณะ

ระบบคลังความรู้ด้านการวิจัยและนวัตกรรมไว้บริการบุคลากร

ระดับมหาวิทยาลัย

-แบบคำขอรับเงินสนับสนุนการตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ  https://rdi2.rmutsb.ac.th/2011/download/007/111.doc

-ประกาศ มทรส. เรื่อง หลักเกณฑ์และอัตราการจ่ายเงินสนับสนุนการตีพิมพ์บทความในวารสารวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ พ.ศ. 2565 https://rdi2.rmutsb.ac.th/2011/download/1111012.pdf

-ประกาศ มทรส. เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนเงินรางวัลผลงานที่ได้รับการจดทะเบียนสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา พ.ศ. 2564 https://rdi2.rmutsb.ac.th/2011/download/66012.pdf

 

ระดับคณะ

https://arts.rmutsb.ac.th/km%20research

 

5

การเข้าถึงความรู้

-เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดี Web site คณะ

-จัดทำเป็นเอกสาร e-document หนังสือเวียน

-บอร์ดประชาสัมพันธ์

-การอบรม สัมมนากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

-สื่อ Social media

ธ.ค. 65- ต.ค.66

มีจำนวนความรู้ที่สามารถเข้าถึงและมีการประชาสัมพันธ์ความรู้ภายในองค์กร

อย่างน้อยเดือนละ 1 เรื่อง (ไม่จำกัดช่องทาง)

บุคลากรภายในคณะ

- เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีผ่านทาง Web site, Line Facebook ของคณะ

1.https://arts.rmutsb.ac.th/content/62

2.https://drive.google.com/file/d/1pdz31saXAn7Ac3TIuPjv-YOWAtlF2YfY/view?usp=share_link

3.https://drive.google.com/file/d/1lYk4zKWLVxUIvf5WOovupl-2oi1_-aqI/view?usp=share_link

4.https://arts.rmutsb.ac.th/km%20research

- จัดทำเป็นเอกสาร e-document หนังสือเวียนรายเดือน

 

 

6

การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้

- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี

- ชุมชนนักปฏิบัติ (COP)

เม.ย.66- ก.ย.66

จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง/ปีการศึกษา

บุคลากรภายในคณะ

- จัดโครงการการจัดการความรู้ ในการบริหารจัดการข้อมูลของหน่วยงาน ประจำปีการศึกษา 2565

เพื่อเป็นการนำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีด้านวิจัยและนวัตกรรม ในวันที่ 20 เมษายน 2566 เวลา 08.30-11.00 น.                     

 

7

การเรียนรู้

-บุคลากรนำการจัดการความรู้ไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนางาน

เม.ย.66-ก.ย.66

จำนวนบุคลากรในคณะที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มขึ้นจากการนำความรู้จากการจัดการความรู้ไปใช้

จำนวนบุคลากรมีสามรรถนะด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 60

บุคลากรภายในคณะ

1. บุคลากรภายในคณะมีสมรรถนะด้านการวิจัยและนวัตกรรมเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปปรับใช้ในการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากแหล่งทุนภายในและภายนอกได้ต่อไป

2. บุคลากรในคณะสามารถนำความรู้ที่ได้ไปขยายผลในการดำเนินโครงการวิจัยของตนเองเพื่อให้ผลงานวิจัยสามารถนำไปสู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และสาธารณประโยชน์ได้ต่อไป

 

 






300 ครั้ง

Address
คณะศิลปศาสตร์

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
ศูนย์พระนครศรีอยุธยา หันตรา
เลขที่ 60 หมู่ 3 ถ.สายเอเซีย (กรุงเทพฯ - นครสวรรค์ )
ต.หันตรา อ.พระนครศรีอยุธยา
จ.พระนครศรีอยุธยา 13000
โทรศัพท์/โทรสาร : 035709208 , 0899009462

การให้บริการ

สถิติการเข้าชม
  • วันนี้ : 337 ครั้ง
  • เดือนนี้ : 36771 ครั้ง
  • ปีนี้ : 41804 ครั้ง
  • ทั้งหมด : 275197 ครั้ง
Follow Us

Copyright ©2020 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ