แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ 1 ด้านการเรียนการสอน | |||||||
ชื่อส่วนราชการ : คณะศิลปศาสตร์ | |||||||
ประเด็นยุทธศาสตร์/พันธกิจ : ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพบัณฑิต และกำลังคนเพื่อรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ : พันธกิจที่ 1 จัดการศึกษาวิชาชีพและเทคโนโลยีชั้นสูงที่เน้นปฏิบัติ |
|||||||
องค์ความรู้ที่จำเป็น : สร้างและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมสามารถนำไปสร้างผลงาน พัฒนาผลิตภัณฑ์และการสร้างผู้ประกอบการ | |||||||
ตัวชี้วัด (KPI) : จำนวนองค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนไม่น้อยกว่า 1 องค์ความรู้ | |||||||
เป้าหมายของตัวชี้วัด : จำนวนองค์ความรู้ด้านการเรียนการสอนที่ได้นำไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่า 1 องค์ความรู้ | |||||||
ลำดับ |
กิจกรรมการจัดการความรู้ |
ระยะเวลา |
ตัวชี้วัด |
เป้าหมาย |
กลุ่มเป้าหมาย |
ผลการดำเนินงาน |
หมายเหตุ |
1 |
การบ่งชี้ความรู้ -แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ -ประชุมคณะกรรมการการจัดการความรู้เพื่อกำหนดองค์ความรู้ที่จำเป็น |
ก.ย. 65
ต.ค.65 |
-จำนวนคณะทำงานการจัดการความรู้
-จำนวนความรู้ที่ได้จากการบ่งชี้ (ทะเบียนความรู้) |
ไม่น้อยกว่า 15 คน
ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง |
อาจารย์ทุกสาขาวิชา
อาจารย์ทุกสาขาวิชา |
- คำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ 357/2565 ลว. 16 กันยายน 2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) ประจำปีการศึกษา 2565 - คำสั่งคณะศิลปศาสตร์ ที่ 427/2565 ลว. 10 พฤศจิกายน 2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู้ (Knowledge Facilitator : KF) ประจำปีการศึกษา 2565 https://drive.google.com/file/d/1U647F_2AA5xPMjRDmnrODP8Y5WlDC5bT/view?usp=share_link - รายงานผลการบ่งชี้ความรู้ จำนวน 5 เรื่อง |
|
2 |
การสร้างและแสวงหาความรู้ -ภายในหน่วยงาน -ภายนอกหน่วยงาน -ค้นหาองค์ความรู้เกี่ยวกับด้านการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์ |
ต.ค.65-เมย.66 |
-ทะเบียนความรู้จากการบ่งชี้ที่อยู่ในตัวบุคคลทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน |
ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง |
อาจารย์ทุกสาขา |
สร้างและรายงานผลการแสวงหาความรู้ จำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ 1. เทคนิคการสอนเพื่อสร้างผู้ประกอบการพันธุ์ใหม่ Teaching Techniques to Build New-wave Entrepreneurs (อาจารย์ ดร. เบญจพร เชื้อผึ้ง) 2. การปรับประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ในรายวิชาการท่องเที่ยวเพื่อส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นนวัตกร (อ.ภารณี อินทร์เล็ก) 3. การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษผ่านการเรียนรู้แบบผสมผสาน (blended learning) เพื่อการเรียนรู้อย่างยั่งยืน (อ.สนธยา รัตนศักดิ์) 4. การเขียนและเล่าเรื่องจากหนังสือที่อ่านผ่านวิธีสอนแบบซินเนคติกส์ (Synectics) Writing and Storytelling Through the Synectics Teaching Instructional Model (อ.ศุภชาติ เสถียรธนสาร) 5. การเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารภาษาอังกฤษบนวิถีชีวิตใหม่ ด้วยแอพพลิเคชั่นบน สมาร์ทโฟน New Normal Communicative English Language Enhancement on Smartphone Application (ผู้ช่วยศาสตราจารย์แจ่มจันทร์ บุญโญปกรณ์) |
|
3 |
การจัดความรู้ให้เป็นระบบ -จัดทำทะเบียนความรู้/คลังความรู้
|
ต.ค. 65 – เม.ย.66 |
-ทะเบียนรายการความรู้ที่ได้รับการบ่งชี้/คลังความรู้ของบุคลากรภายในคณะ |
มีทำเนียบผู้เชี่ยวชาญไม่น้อยกว่า 1 ระบบ |
อาจารย์ทุกสาขา |
มีทำเนียบรายชื่อบุคลากรที่เชี่ยวชาญ
|
|
4 |
การประมวลและกลั่นกรองความรู้ -จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
ม.ค.66-เม.ย.66 |
-รายงานองค์ความรู้ที่ใช้ในการเรียนการสอน |
มีระบบประมวลความรู้ไว้บริการบุคลากร จำนวน 1 ระบบ |
อาจารย์ทุกสาขา |
ระบบคลังความรู้ด้านการเรียนการสอนไว้บริการบุคลากร เช่น (ระเบียบที่เกี่ยวข้องด้านการเรียนการสอน ไว้บริการบุคลากร เช่น ระเบียบ ข้อบังคับ แบบฟอร์ม Link VDO ความรู้) https://arts.rmutsb.ac.th/teaching |
|
5 |
การเข้าถึงความรู้ -เผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดี Web site คณะ -จัดทำเป็นเอกสาร e-document หนังสือเวียน -บอร์ดประชาสัมพันธ์ -การอบรม สัมมนากิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -สื่อ Social media |
ธ.ค. 65-ต.ค.66 |
-มีจำนวนความรู้ที่สามารถเข้าถึงและการประชาสัมพันธ์ความรู้ภายในองค์กร |
อย่างน้อยเดือนละ 1 เรื่อง (ไม่จำกัดช่องทาง) |
อาจารย์ทุกสาขา |
- หลักฐานการเผยแพร่แนวปฏิบัติที่ดีผ่านทาง Web site, Line Facebook ของคณะ https://arts.rmutsb.ac.th/teaching |
|
6 |
การแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี -ชุมชนนักปฏิบัติ (COP) |
เม.ย.-พ.ค. 66 |
-จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
ไม่น้อยกว่า 4 ครั้ง/ปีการศึกษา |
อาจารย์ทุกสาขา |
- จัดโครงการการจัดการความรู้ ในการบริหารจัดการข้อมูลของหน่วยงาน ประจำปีการศึกษา 2565 เพื่อเป็นการนำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีด้านการเรียนการสอนในวันที่ 18 เมษายน 2566 เวลา 08.30-11.00 น. |
|
7 |
การเรียนรู้ -อาจารย์นำการจัดการความรู้ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2566 |
เม.ย.- ก.ย.66 |
นักศึกษามีความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมจนสามารถสร้างผลงานผลิตภัณฑ์และสามารถเป็นผู้ประกอบได้ |
จำนวนอาจารย์มีสมรรถนะด้านการเรียนการสอนเพิ่มขึ้นร้อยละ 60 |
อาจารย์ทุกสาขา |
-มีการเผยแพร่เพื่อให้อาจารย์นำองค์ความรู้ไปใช้ ไปบรรจุลงใน มคอ.3 เพื่อประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนต่อไป เช่น วิชา Digital for Tourism and Hospitality, https://arts.rmutsb.ac.th/teaching
|
|